ASEAN relations with the UN system started in 1972with the United Nations Development Programme (UNDP) which became a dialogue partner in 1977, the only non-State body that formed part of today’s ASEAN Dialogue Partners.
ASEAN-UNDP ties were further strengthened with the launching of the ASEAN-UNDP Sub-regional Programme in 1977 that aimed to better assist ASEAN with its regional cooperation and integration efforts.
The first ASEAN-UN Summit was held in Bangkok on 12 February 2000, during which the issues of peace and security, human resources development and the future role of the United Nations in the region were discussed. It enhanced both the scope and scale of ASEAN-UN cooperation and subsumed cooperative arrangements with UNDP.
The second Summit was held in New York on 13 September 2005, in which ASEAN leaders and the UN Secretary-General expressed in a joint communiqué the need to broaden ASEAN-UN cooperation, encompassing areas related to community-building, such as poverty alleviation, prevention and control of infectious diseases, disaster management, transnational issues, development, and peace and security.
ความร่วมมืออาเซียน- สำนักงานพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (United Nations Development Programme :UNDP) ได้เริ่มขึ้นในช่วงปี 2513 (1970) และ UNDP ได้รับสถานะ Dialogue Partner ของอาเซียนในปี 2520 (1977) โดย UNDP สนับสนุนด้านการเงินและผู้เชี่ยวชาญเพื่อช่วยอาเซียนในส่วนของข้อริเริ่ม เกี่ยวกับความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ซึ่งต่อมาอาเซียนได้มีความร่วมมือระหว่างกันในเรื่องของอุตสาหกรรม เกษตรกรรมและป่าไม้ การคมนาคม และการเงิน ตลอดจนการพัฒนาอนุภูมิภาคต่างๆ ผ่านการเสริมสร้างขีดความสามารถ อย่างไรก็ตาม เนื่องจาก UNDP เห็นว่า อาเซียนมีระดับการพัฒนาที่น่าพอใจและดีกว่าอนุภูมิภาคอื่นๆ จึงได้จำกัดการสนับสนุนลง ปัจจัยนี้ส่งผลให้อาเซียนริเริ่มการพิจารณาเรื่องของสถานะความสัมพันธ์
การประชุมสุดยอดอาเซียน-สหประชาชาติ ครั้งที่ 1 ได้จัดขึ้นที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่12 กุมภาพันธ์ 2543 (2000) ในระหว่างการประชุม UNCTAD X โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์และสร้างการเชื่อมโยงที่ต่อ เนื่องระหว่างประเทศในกลุ่มอาเซียนกับสหประชาชาติ ที่ประชุมกำหนดแนวทางความร่วมมือ ระหว่างอาเซียน UN ที่ควรดำเนินต่อไป เช่น การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การลดช่องว่างระหว่างคนรวยและคนจน และการพัฒนาลุ่มแม่น้ำโขง และได้แลกเปลี่ยนความเห็นเรื่องสถานการณ์การเมืองและความมั่นคงภูมิภาค
การประชุมสุดยอดอาเซียน-สหประชาชาติ ครั้งที่ 2 ได้จัดขึ้นที่ นครนิวยอร์ก เมื่อวันที่ 13 กันยายน2548 (2005) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับUN เพื่อให้อาเซียนเป็นที่ยอมรับมากยิ่งขึ้นในเวทีระหว่างประเทศ รวมทั้งเพื่อติดตามผลการประชุมสุดยอดครั้งที่ 1
การประชุมสุดยอดอาเซียน-สหประชาชาติ ครั้งที่ 1 ได้จัดขึ้นที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่12 กุมภาพันธ์ 2543 (2000) ในระหว่างการประชุม UNCTAD X โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์และสร้างการเชื่อมโยงที่ต่อ เนื่องระหว่างประเทศในกลุ่มอาเซียนกับสหประชาชาติ ที่ประชุมกำหนดแนวทางความร่วมมือ ระหว่างอาเซียน UN ที่ควรดำเนินต่อไป เช่น การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การลดช่องว่างระหว่างคนรวยและคนจน และการพัฒนาลุ่มแม่น้ำโขง และได้แลกเปลี่ยนความเห็นเรื่องสถานการณ์การเมืองและความมั่นคงภูมิภาค
โดยมีประเด็นหารือที่สำคัญ เช่น การสนับสนุนการพัฒนาและการขยายสมาชิกภาพของสภาความมั่นคงสหประชาชาติ (UNSC) ความร่วมมือเพื่อช่วยอาเซียนในการจัดตั้งประชาคมการเมืองความมั่นคง ประชาคมเศรษฐกิจ และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนภายในปี 2015 ความร่วมมือในประเด็นเฉพาะ เช่น การจัดการภัยพิบัติ HIV/AIDs ไข้หวัดนก และการสร้างสันติภาพและความมั่นคง
References:
"ASEAN-UNDP relations." (Online). Available:http://www.asean.org/asean/external-relations/undp Retrieved 6 October 2012.
"ASEAN-UNDP relations." (Online). Available: http://www.un.org/wcm/content/site/chronicle/home/archive/issues2007/thecapacitytocare/pid/21654 Retrieved 6 October 2012.
"ASEAN-UNDP relations." (Online). Available: http://www.un.org/wcm/content/site/chronicle/home/archive/issues2007/thecapacitytocare/pid/21654 Retrieved 6 October 2012.
"ความสัมพันธ์อาเซียน-สหประชาชาติ." หนังสือบันทึกการเดินทางอาเซียน กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ (สืบค้น 6 ตุลาคม 2555)
"ความสัมพันธ์อาเซียน-สหประชาชาติ."(Online). Available: http://aseansummit.mfa.go.th/14/thai/asea_summit_03-1.php อา เซียน-UNDP Retrieved 6 October 2012.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น